แนวทางการเรียนรู้จำเป็นจริงๆ หรือ (ภาค 2)
ติดต่อลงโฆษณา
Leaderboard in Content 1st
Fixed 1,000 baht/month
Slot 300 baht/month

ภาค 1 เกริ่นว่าสนใจแนวทางเรกจิโอ อามีเลีย อันนี้มีบทความภาษาไทยมาฝากค่ะ [break]

http://web.bsru.ac.th/~direkkung/web_teacher/knowledge/childhood9.pdf
 

บทความนี้กล่าวค่อนข้างจะละเอียดค่ะ ลองของได้สองสามครั้งตอนลูกมีเพื่อนมาเล่นด้วย คือจริงๆ เราก็ไม่ทราบหรอกค่ะว่าเราทำแนวทางที่ว่าจริงรึเปล่า คือตอนอ่านชอบมาก แต่พอคิดจะทำมันก็ยากอยู่นา ยิ่งมาคุยกับกูรูก็รู้สึกว่าเราคงต้องศึกษาอีกมากโดยเฉพาะภาคปฏิบัติเพราะตัวอย่างที่เล่าให้กูรูฟังดันออกมาเป็นแนว Project Approach ค่ะ เลยมีภาคภาษาไทยมาแถมให้
 

http://kasempit.ac.th/m_12/download/kindergarten_project.pdf
 

อันนี้ไปเอามาจากเว็บนึงค่ะ คือเข้าใจว่าหลักเรกจิโอมีข้อปฏิบัติใหญ่อยู่ว่า
 

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt"><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; ">The child as protagonist, collaborator, and communicator </span></font></font></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt"><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; ">The teacher as partner, nurturer, guide, and researcher. </span></font></font></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt"><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; ">Cooperation as the foundation of the educational system. </span></font></font></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt"><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; ">The environment as the "third teacher." </span></font></font></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt"><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; ">The Parent as Partner </span></font></font></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt"><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; ">Documentation as communication<a class="sdfootnoteanc" href="#sdfootnote1sym" name="sdfootnote1anc">1</a></span></font></font></p>


แปลได้ก็คือ
 

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">เด็กเป็นผู้นำในการเรียนรู้</font></font><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">, </font></font></span><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">ป็นผู้ประสานงาน และเป็นผู้สื่อสาร</font></font></span></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">ครูในฐานะเป็นผู้ร่วมเรียนรู้</font></font><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">, </font></font></span><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">ผู้อุปภัมภ์</font></font><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">, </font></font></span><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">เป็นผู้ชี้แนะ และเป็นนักวิจัย</font></font></span></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">ความร่วมมือ เป็นรากฐานของระบบการศึกษา</font></font></span></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">สภาพแวดล้อมที่เป็น </font></font><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">"</font></font></span><span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">ครูที่สาม</font></font><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">"</font></font></span></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">ผู้ปกครองที่เป็นพันธมิตร</font></font></span></p>

    <p align="JUSTIFY" class="western" style="line-height: 150%">
        <span style="background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><font face="Arial, sans-serif"><font size="2" style="font-size: 11pt">การทำเอกสารและการสื่อสาร</font></font></span></p>

1http://www.uq.edu.au/campuskindy/Reggio_Emilia_for_parents.pdf

การเรียนรู้ในแนวเรกจิโอนั้นส่วนใหญ่มีฐานอยู่บนการใช้โปรเจคค่ะ ต่างอยู่ตรงที่ว่าแนวทางเรกจิโอจะมีความยืดหยุ่นมากกว่าค่ะ (กูรูชี้แนะมา) คือทำอะไรก็ได้ที่เด็กสนใจ นานเท่าไหร่ก็ได้และเปลี่ยนแปลงได้ตามความสนใจของเด็ก (ส่วนใหญ่เน้นศิลปะค่ะแต่ส่วนตัวคิดว่าไม่จำเป็น) ส่วนแนวโปรเจคจะมีการกำหนดมากก่อนค่ะว่าจะศึกษาเรื่องอะไร จะศึกษานานเท่าไหร่ (ลองอ่านดูข้างบนนะคะ) ความยืดหยุ่นจะน้อยกว่าค่ะ โรงเรียนบ้านเรามีเยอะที่ใช้แนวโปรเจคค่ะเท่าที่กูเกิ้ลมา ลองเข้าไปหาพิมพ์ดูได้เลยค่ะจะได้ข้อมูลเพียบ (ลองๆ เข้าไปดูใน document เก่าๆ ใน HomeSchool Network ของเพื่อนๅ เราก็เห็นเยอะอยู่ค่ะ)
 

อยากให้อ่านและขอฟีดแบ๊คค่ะ ^^ เพราะทุกสิ่งล้วนแต่ขึ้นกับการตีความและการปฏิบัติของผู้อ่านค่ะ ไม่อยากเขียนความเห็นส่วนตัวมากมากเพราะไม่ใช่กูรูค่ะ ^^ โดยส่วนตัวอ่านแล้วชอบทั้งสองแนวค่ะ แต่คิดว่าคงประยุกต์ใช้แล้วแต่สถานการณ์ (ลูก) ว่าจะพาไปให้ใช้อันไหน
 

อันนี้เป็นข้อสำคัญค่ะ เอามาแชร์เผื่อมีคนอื่นคิดเหมือนกันและทำอยู่แล้ว สำหรับตัวรับตัวอ่านไปอ่านมาก็เริ่มรู้สึกว่าจริงๆ ปรัชญาที่อยู่เบื่อหลังแนวทางพวกนี้เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดค่ะ เบสิคที่สุดเกี่ยวกับลูกเราและเราเองในการร่วมเดินทางไปด้วยกันค่ะ ไม่ขอออกความเห็นเป็นรูปธรรมในการจัดการเรียนการสอนเพราะยังไม่มีประสบการณ์มาก แต่จะเอามาแชร์เรื่องปรัชญาค่ะ (จริงๆ ก็ไม่รู้หรอกว่าใช้คำว่าปรัชญามันถูกต้องรึเปล่าค่ะแต่ขอใช้ศัพท์นี้ก็แล้วกัน) ตอนนี้มีสองเรื่องที่กำลังทำความเข้าใจ คือเรื่อง วิธีการมองเด็ก หรือ image of the child และเรื่องความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น หรือ empathy ค่ะ อันนี้ศึกษาไว้สอนตัวเองมากกว่าสอนลูกค่ะเพราะมีความรู้สึกว่าตัวเราเองมากกว่าที่คงต้องเรียนรู้่ก่อนจะสอนลูกได้ (และสงสัยว่าจะต้องมาทำโฮมสคูลสำหรับพ่อและแม่ก่อนให้ลูกค่ะ ^^) ตอนนี้เพิ่งเริ่มๆ จะถึงบางอ้อเรื่อง วิธีการมองเด็ก (หรือ The image of the child) ค่ะ เอาไว้คราวหน้าจะมาเล่าให้ฟังค่ะ ^^


by Kung on Aug 20, 2012

Posted in ไม่มีหมวดหมู่

ป้ายคำค้น
No tags found

ในหมวดเดียวกัน
ป้ายคำค้นเดียวกัน
No related posts found
โปรเจ็กต์ของผู้แต่ง